โครงการสามเณรทรงพระปาฏิโมกข์ ปีพุทธศักราช ๒๕๖๖ (รุ่นที่ ๑)
ขอเชิญเข้าร่วมกิจกรรมในโครงการสามเณรทรงพระปาฏิโมกข์ ปีพุทธศักราช ๒๕๖๖ (รุ่นที่ ๑) ระหว่างวันที่ ๑๘-๒๓ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๖๖ ณ อุโบสถพระไตรปิฎก วัดพระธรรมกาย จังหวัดปทุมธานี
กิจกรรมเพื่อชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ ระหว่างกรกฎาคม – กันยายน พ.ศ. ๒๕๖๓
กิจกรรมเพื่อชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ โดยวัดพระธรรมกาย และมูลนิธิธรรมกาย ระหว่างกรกฎาคม – กันยายน พ.ศ. ๒๕๖๓
อสัมปทานชาดก ชาดกว่าด้วยการไม่รับของทำให้เกิดการแตกร้าว
สังขเศรษฐีได้ช่วยเหลือสหายของตนนามว่าปิลิยเศรษฐี โดยแบ่งเงินของตนให้ ๔๐ โกฎิ แล้วยังแบ่งสมบัติทั้งหลายที่ตนมี ทั้งข้าทาสบริวารให้แก่ปิลิยเศรษฐีครึ่งหนึ่งในครั้งที่เพื่อนของตนเดือดร้อน แต่ในยามที่สังขเศรษฐีลำบาก ปิลิยเศรษฐีกลับเมินเฉยไม่ยอมช่วยเหลือใดๆ
วัดพระธรรมกาย มูลนิธิธรรมกาย จัดกิจกรรมถวายพระพรชัยมงคล และถวายพระราชกุศลแด่สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าพัชรกิติยาภาฯ
วัดพระธรรมกาย มูลนิธิธรรมกาย ได้จัดกิจกรรมถวายพระพรชัยมงคล และถวายพระราชกุศลแด่สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าพัชรกิติยาภา นเรนทิราเทพยวดี กรมหลวงราชสาริณีสิริพัชร มหาวัชรราชธิดา ให้ทรงหายจากอาการประชวรโดยเร็ววัน
ลิตตชาดก ชาดกว่าด้วยลูกสกาอาบยาพิษ
นักเลงสกาเมื่อจนมุมก็ใช้แผนเดิม เอาลูกสกาเข้าปากแล้วแกล้งปัดกระดานจนพลิกคว่ำ ลูกสกาหล่นลงบนพื้นกระจัดกระจาย “ อ้าว ลูกสกาหายไปไหนตัวหนึ่งเนี่ย ช่วยกันหาหน่อย อ้าวตายล่ะ มือเผลอไปโดนกระดานเข้า ตาย ตาย ตาย จำไม่ได้แล้วสิ ว่าตัวเล่นอยู่ตรงไหนบ้าง ” ชาวบ้านต่างรู้ว่านั้นเป็นแผนของนักเลงสกาที่ไม่ยอมแพ้ลูกเศรษฐี แต่ก็ไม่สามารถทำอะไรได้
วันอาสาฬหบูชา 2567 ประวัติความเป็นมาความสำคัญและธรรมเนียมปฏิบัติ
วันอาสาฬหบูชา 2567 ตรงกับวันเสาร์ที่ 20 กรกฎาคม พ.ศ.2567 วันอาสาฬหบูชาเป็นวันสำคัญวันหนึ่งของพระพุทธศาสนา ตรงกับวันเพ็ญขึ้น 15 ค่ำ เดือน 8 ในสมัยพุทธกาลมีเหตุการณ์สำคัญเกิดขึ้น 4 ประการ
สังวรมหาราชชาดก ชาดกว่าด้วยพระราชาผู้มีศีลาจารวัตรที่ดีงาม
พระโอรสสังวรกุมารเป็นพระโอรสองค์ที่ ๑๐๐ แห่งพระราชาเมืองพาราณสี ซึ่งเป็นผู้ที่เคารพรักใคร่ ของเหล่าปวงประชา เหตุเพราะพระองค์เป็นผู้ที่มีศีลาจารวัตรงดงาม เป็นผู้ไม่ความริษยา เคารพนบนอบในผู้มีคุณ มีความยินดีในธรรม ทำให้พระองค์เป็นผู้ที่ถูกเลือกให้ครองราชสมบัติแทนพระราชบิดาของตน
วันอัฏฐมีบูชา ประวัติความสำคัญธรรมเนียมปฏิบัติในวันอัฏฐมีบูชา
วันอัฏฐมีบูชา เป็นวันสำคัญทางพระพุทธศาสนาอีกวันหนึ่ง คือ เป็นวันถวายพระเพลิงพระพุทธสรีระของพระพุทธเจ้า หลังจากเสด็จดับขันธ์ปรินิพพานได้ 8 วัน
โทษภัยของการพนัน
พระสัมมาสัมพุทธเจ้าได้ตรัสถึงทางแห่งความเสื่อมไว้ 6 ประการ หรือที่เรียกว่า อบายมุข 6 คือปากทางแห่งความเสื่อม ทางแห่งความพินาศ เหตุย่อยยับแห่งโภคทรัพย์ ได้แก่ ดื่มน้ำเมา เที่ยวกลางคืน เที่ยวดูการละเล่น เล่นการพนัน คบคนชั่วเป็นมิตรเเละเกียจคร้านการทำงาน การพนันเป็นหนึ่งใน 6 ข้อ ที่ไม่ว่าบุคคลใดติดเเล้วจะทำให้ชีวิตตกต่ำ หาความเจริญรุ่งเรืองไม่ได้ มีคำกล่าวไว้ว่า โจรปล้น10ครั้ง ยังไม่เท่าไฟไหม้ 1 ครั้ง ไฟไหม้ 10 ครั้ง ยังไม่เท่าผีพนันเข้าสิง เพราะโจรปล้นหรือไฟไหม้อย่างมากเเค่หมดเนื้อหมดตัวเเต่ยังมีที่ดินเหลืออยู่ ทว่าถ้าติดการพนันจนโงหัวไม่ขึ้นเเล้วเเม้เเต่ที่ดิน หรือเเม้กระทั่งชีวิตของตนเองอาจจะรักษาไว้ไม่ได้ การพนันหมายถึง การเล่นชนิดหนึ่ง เพื่อเอาเงินหรือสิ่งของที่มีค่าอื่นๆด้วยการเสี่ยงโชค โดยการทำนาย หรือคาดเดาผลที่เกิดขึ้นในอนาคต
ปฐมเทศนาในวันอาสาฬหบูชา
วันอาสาฬหบูชาเป็นวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา เนื่องจากเหตุการณ์สำคัญที่เกิดขึ้นเมื่อ ๔๕ ปี ก่อนพุทธศักราช ในวันขึ้น ๑๕ ค่ำ เดือน ๘ คือ วันเพ็ญเดือนอาสาฬหะ ณ ป่าอิสิปตนมฤคทายวัน เมืองพาราณสี อันเป็นวันที่พระพุทธเจ้าทรงแสดงปฐมเทศนา คือ ธัมมจักกัปปวัตนสูตร แก่ปัญจวัคคีย์